Margin หรือหลักประกันในการรักษาความปลอดภัย ถือว่าเป็นสิ่งที่สำคัญมาก ๆ ในการเทรดฟอเร็กซ์แบบเริ่มต้น เพราะการ เทรดฟอเร็กซ์ คือ การที่คุณนั้นจะต้องทำการจับคู่สกุลเงินนั่นเอง ดังนั้น ในบทความนี้ เราจะพาทุกคนมาดูกันว่า มาร์จิ้น หรือ Margin นั้นคืออะไร
ความหมายที่แท้จริงของ Margin
การเทรด Forex ก็คือการแลกเปลี่ยนค่าสกุลเงินต่างประเทศ และ Margin หรือ มาร์จิ้นนั้น ก็คือหลักประกันในการรักษาความปลอดภัยของบัญชีผู้ลงทุนนั่นเอง เทรดเดอร์ทุกคน ที่ฝากเงินไว้กับโบรกเกอร์ เพื่อครอบคลุมความเสี่ยงของเทรดเดอร์กับโบรกเกอรัน่นเอง ส่วนมากนั้นจะเป็นเศษส่วนของตำแหน่งการซื้อขาย และแสดงเปอร์เซ็นต์เสียมากกว่า คุณสามารถคิดว่ามาร์จิ้น คือ เงินฝากสำหรับการซื้อขายที่เปิดอยู่ทั้งหมดในบัญชีของคุณก็ได้เช่นเดียวกัน
Margin ในโบรกเกอร์ฟอเร็กซ์นั้นจะเป็นตัวกำหนดเลอเวอเรจสูงสุด ที่เทรดเดอร์ สามารถใช้งานได้ในบัญชีเทรด ดังนั้น การซื้อขายด้วยเลเวอเรจ จึงมีการถูกเรียกว่าการซื้อขายโดยใช้มาร์จิ้นนั่นเอง
Margin กับ Balance ต่างกันอย่างไร
ทั้งสองอย่างนี้ ต่างกันโดยสิ้นเชิงเลย เพราะว่า Margin ก็คือหลักประกันในเรื่องของความปลอดภัย หรือ เป็นเงินฝากบางส่วนจากการซื้อขาบในบัญชีของคุณ แต่ว่า Balance คือยอดเงินลงทุนทั้งหมดของเทรดเดอร์นั่นเอง ซึ่งจะเรียกกันง่าย ๆ ว่ายอดเงินลงทุนที่นักเทรดนั้นมีทั้งหมด ในบัญชีที่เปิดกับโบรกเกอร์ เพราะฉะนั้น ทั้งสองแบบนี้มีความต่างกันอย่างแน่นอน ส่วนใหญ่แล้วจะฝากไว้กับผู้ที่ดำเนินการซื้อขายแทนเทรดเดอร์ หรือ โบรกเกอร์นั่นเอง
Margin วิธีการทำกำไรให้ปังจากการเทรดฟอเร็กซ์ สำหรับเทรดเดอร์มือใหม่
Margin หรือ มาร์จิ้นน เทรดเดอร์บางรายนั้นก็ยังมีการถกเถียงในเรื่องนี้กันอย่างหนาหูเลยทีเดียวว่า มาร์จิ้นที่มากเกินไปนั้นจะมีความเป็นอันตราย หรือ น้อยเกินไปก็ไม่ดี แต่ทั้งนี้ ทั้งนั้น ก็ขึ้นอยู่กับความต้องการในการเทรดของแต่ละบุคคลด้วยเช่นเดียวกัน ว่ามีสไตล์การเทรดเป็นแบบไหน การเทรดมาร์จิ้นนั้น ก็ถือว่าเป็นการทำกำไรในการเทรดฟอเร็กซ์ได้เป็นอย่างดีเลยทีเดียว
สิ่งสำคัญทั้งหมดก็คือจะต้องทำความเข้าใจความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น และเป็นความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนทั้งหมดนั่นเอง หากว่าคุณเลือกที่จะขายโดยใช้ มาร์จิ้นฟอเร็กซ์ ตนเองก็จะต้องมีความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ด้วยเช่นเดียวกัน และจะต้องเลือกโบรกเกอร์ที่มีอัตราการจ่ายให้คุณที่ดีด้วย หรือ สอบถามกับทางโบรกเกอร์ได้ตลอดเวลา
เนื้อหาถัดไป : Equity คืออะไร